บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 17 มีนาคม 2558 ครั้งที่ 10
การส่งเสริมทักษะต่าง ๆ ของเด็กพิเศษ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
การกินอยู่
การเข้าห้องน้ำ
การแต่งตัว
กิจวัตรต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
แต่ควรให้ทำอะไรด้วยนเองและให้อิสระในการตัดสินใจ
การสร้างความอิสระ
- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
- อยากทำงานตามคามสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่
*ถ้าเด็กเริ่มทำอะไรเป็นครั้งแรก เขาจะมีความมั่นใจในตนเองมากและจะเกิิดพฤติกรรมนั้น ๆ ซ้ำ ๆ ในแต่ละวัน และเด็กก็จะนำผลงานของตนเองมาโชว์ให้คุณครูดูทุกครั้งหลังจากทำเสร็จ บทบาทของครุ คือ ครูต้องใจเย็น ห้ามรำคาญเขาเวลาที่เด็กนำผลงานของเขามาโชว์หลาย ๆ รอบ ต้องชื่นชมเขา และพยายามองทุกอย่างที่เขาทำให้เป็นข้อดี ผลดีกับตัวเด็ก
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
- การได้ทำด้วยตนเอง
- เชื่อมั่นในตนเอง
- เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)*
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่าง ๆ ให้เด็กมากเกินไป
- ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- หนูทำช้า หรือ หนูยังทำไม่ได้ (ห้ามพูด)
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร, หงุดหงิด, เบื่อ, ไม่ค่อยสบาย
- หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
- เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
- มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
- ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- หนูทำช้า หรือ หนูยังทำไม่ได้ (ห้ามพูด)
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร, หงุดหงิด, เบื่อ, ไม่ค่อยสบาย
- หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
- เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
- มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 2-3 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 3-4 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 4-5 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 5-6 ปี)
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
- แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นชั้นย่อย ๆ
- เรียงลำดับตามขั้นตอน
การเข้าส้วม
- เข้าไปในห้องส้วม
- ดึงกางเกงลงมา
- ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
- ปัสสาวะหรืออุจจาระ
- ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
- ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
- กดชักโครกหรือตักน้ำราด
- ดึงกางเกงขึ้น
- ล้างมือ
- เช็ดมือ
- เดินออกจากห้องส้วม
*การที่ครูต้องย่อยงานขนาดนี้ เพราะถ้าครูบอกไม่ละเอียดทำให้น้องไม่รู้เรื่องและครูพูดทุกครั้งเพื่อทำให้น้องรู้ว่าน้องต้องทำอะไรบ้าง
การวางแผนทีละขั้น
- แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อย ๆ ให้มากที่สุด
สรุป
- ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
- ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้น ๆ
- ความสำเร็จขั้นเล็ก ๆ นำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
- ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
- เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ
*ความสำเร็จเล็ก ๆ ของเด็ก ๆ จะทำให้เด็กนำไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่
กิจกรรมที่ทำในห้องเรียน
เพลงเก็บเด็ก
การนำไปประยุกต์ใช้
- เราสามารถนำทักษะการช่วยเหลือตนเองมาให้เด็ก ๆ ไปปฏิบัติ เพื่อที่เด็กจะสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ เป็นการฝึกให้เด็กได้ทำอะไรได้ด้วยตนเอง
การประเมินตนเอง
- แต่งกายเรียบร้อย แล้วก็ตั้งใจจดเนื้อหาที่อาจารย์ได้อธิบายและยกตัวอย่างเพิ่มเติม จากใน Power Point รวมทั้งตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียนกับเพื่อนในห้องอย่างสนุกสนาน
การประเมินเพื่อน
- เพื่อน ๆ แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน อาจจะเสียงดังไปบ้างแต่ก็ทำให้ห้องเรียนมีบรรยากาศที่น่าเรียน และไปตึงเครียด ทุกคนทำกิจกรรมกันอย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน
การประเมินอาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์จะหากิจกรรมมาให้นักศึกษาทำสอนทุกครั้ง และมีการอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมจากข้อมูลใน Power Point อาจารยืยังยกตัวอย่างและเล่าเหตุการณ์แต่ละกรณีให้ฟังเพื่อให้นักศึกษาเข้า และมองเห็นภาพมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น